Overview
ปรัชญา
“บูรณาการความรู้ทั้งศาสตร์และศิลป์เพื่อการจัดการศิลปวัฒนธรรมอย่างยั่งยืน”
ผลลัพธ์การเรียนรู้ของหลักสูตร
PLO 1: ใช้ภาษาและเทคโนโลยีดิจิทัลในการเรียนรู้ การสื่อสาร และการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างเหมาะสม มีมุมมองเชิงธุรกิจ
แสดงออกถึงความมีจิตสำนึกสาธารณะและปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมในฐานะพลมืองและพลเมืองดิจิทัล
PLO 2: ออกแบบและพัฒนาผลงานทางศิลปกรรมเพื่อส่งเสริมชุมชนและต่อยอดทางธุรกิจ
PLO 3: ใช้และบูรณาการองค์ความรู้แบบสหวิทยาการเพื่อการจัดการศิลปวัฒนธรรมได้
PLO 4: จัดการและสร้างสรรค์งานด้านศิลปวัฒนธรรมอย่างยั่งยืน
แสดงออกถึงความมีจิตสำนึกสาธารณะและปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมในฐานะพลมืองและพลเมืองดิจิทัล
PLO 2: ออกแบบและพัฒนาผลงานทางศิลปกรรมเพื่อส่งเสริมชุมชนและต่อยอดทางธุรกิจ
PLO 3: ใช้และบูรณาการองค์ความรู้แบบสหวิทยาการเพื่อการจัดการศิลปวัฒนธรรมได้
PLO 4: จัดการและสร้างสรรค์งานด้านศิลปวัฒนธรรมอย่างยั่งยืน
ลักษณะของหลักสูตร
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการจัดการศิลปวัฒนธรรม เป็นหลักสูตรที่จัดการเรียนการสอนแบบสองภาษา
(ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ) เน้นการผลิตบัณฑิตให้มีความรู้ความเข้าใจในศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นมีศักยภาพในการพัฒนา
นวัตกรรมและจัดการทางศิลปวัฒนธรรมด้วยการเรียนรู้ ที่ควบคู่ระหว่างทฤษฎี การฝึกปฏิบัติและการจัดประสบการณ์ภาคสนามโดยมุ่งเน้น
การลงมือทำจริง นอกจากนี้หลักสูตรฯ ยังได้บูรณาการศาสตร์ต่าง ๆ ที่หลากหลายเข้าไว้ด้วยกันเพื่อเป็นแนวทางในการจัดการนวัตกรรมทาง
ศิลปวัฒนธรรมจัดการเรียนการสอนโดยคณาจารย์ผู้มีประสบการณ์และความเชี่ยวชาญด้านนวัตกรรมและการจัดการทางด้านศิลปวัฒนธรรม
ตลอดจนการเชิญผู้เชี่ยวชาญพิเศษ ร่วมถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์ นอกจากนี้ผู้เรียนยังได้มีโอกาสร่วมงานกับหน่วยงานต่าง ๆ ทางด้าน
ศิลปวัฒนธรรมทั้งในประเทศและต่างประเทศ ได้สัมผัสกับผลงานของนักคิดทางด้านศิลปวัฒนธรรมและนวัตกรรม โดยการบูรณาการความรู้แบบ
สหวิทยาการ
(ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ) เน้นการผลิตบัณฑิตให้มีความรู้ความเข้าใจในศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นมีศักยภาพในการพัฒนา
นวัตกรรมและจัดการทางศิลปวัฒนธรรมด้วยการเรียนรู้ ที่ควบคู่ระหว่างทฤษฎี การฝึกปฏิบัติและการจัดประสบการณ์ภาคสนามโดยมุ่งเน้น
การลงมือทำจริง นอกจากนี้หลักสูตรฯ ยังได้บูรณาการศาสตร์ต่าง ๆ ที่หลากหลายเข้าไว้ด้วยกันเพื่อเป็นแนวทางในการจัดการนวัตกรรมทาง
ศิลปวัฒนธรรมจัดการเรียนการสอนโดยคณาจารย์ผู้มีประสบการณ์และความเชี่ยวชาญด้านนวัตกรรมและการจัดการทางด้านศิลปวัฒนธรรม
ตลอดจนการเชิญผู้เชี่ยวชาญพิเศษ ร่วมถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์ นอกจากนี้ผู้เรียนยังได้มีโอกาสร่วมงานกับหน่วยงานต่าง ๆ ทางด้าน
ศิลปวัฒนธรรมทั้งในประเทศและต่างประเทศ ได้สัมผัสกับผลงานของนักคิดทางด้านศิลปวัฒนธรรมและนวัตกรรม โดยการบูรณาการความรู้แบบ
สหวิทยาการ